การที่เราจะนำเข้าสินค้า เราต้องทำการศึกษาก่อนว่าสินค้านั้น เป็นสินค้าควบคุมการนำเข้า-ส่งออก หรือไม่ โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรจะมีหน้าที่ในการควบคุมการนำเข้า-ส่งออกของ*สินค้าต้องกำกัด โดยจะทำการตรวจว่าสินค้านั้นๆ ได้รับอนุญาต ขอใบอนุญาตนำเข้าหรือปฎิบัติตามกฎหมายครบถ้วนหรือไม่ โดยมีหน่วยงานของภาครัฐ เป็นผู้ออกใบอนุญาตตามชนิดของสินค้าแต่ละประภท เมื่อพิจราณาครบถ้วนแล้ว เจ้าหน้าศุลกากรจึงจะการทำอนุญาตให้นำสินค้านั้นๆ เข้ามาภายในประเทศได้ ดังนั้นไม่ว่าเราจะนำเข้าสินค้าอะไรเข้ามาก็ตาม เราควรศึกษาก่อนว่าสินค้านั้นๆ เป็นสินค้าควบคุมการนำเข้าหรือไม่
สินค้าควบคุมหรือสินค้าที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนการนำเข้า และหน่วยที่ทำหน้าที่ในการออกใบอนุญาตนำเข้าสินค้าแต่ละประเภท มีดังนี้
*สินค้าต้องกำกัด หมายถึง สินค้าที่มีกฎหมายควบคุมการนำเข้า-ส่งออก โดยการนำเข้าหรือส่งออกได้ จะต้องรับอนุญาตหรือปฎิบัติให้ครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การที่เราจะนำเข้าสินค้า เราต้องทำการศึกษาก่อนว่าสินค้านั้น เป็นสินค้าควบคุมการนำเข้า-ส่งออก หรือไม่ โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรจะมีหน้าที่ในการควบคุมการนำเข้า-ส่งออกของ*สินค้าต้องกำกัด โดยจะทำการตรวจว่าสินค้านั้นๆ ได้รับอนุญาตหรือปฎิบัติตามกฎหมายครบถ้วนหรือไม่ โดยมีหน่วยงานของภาครัฐ เป็นผู้ออกใบอนุญาตตามชนิดของสินค้าแต่ละประภท เมื่อพิจราณาครบถ้วนแล้ว เจ้าหน้าศุลกากรจึงจะการทำอนุญาตให้นำสินค้านั้นๆ เข้ามาภายในประเทศได้ ดังนั้นไม่ว่าเราจะนำเข้าสินค้าอะไรเข้ามาก็ตาม เราควรศึกษาก่อนว่าสินค้านั้นๆ เป็นสินค้าควบคุมการนำเข้าหรือไม่
สินค้าควบคุมหรือสินค้าที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนการนำเข้า และหน่วยที่ทำหน้าที่ในการออกใบอนุญาตของสินค้าแต่ละประเภท มีดังนี้
*สินค้าต้องกำกัด หมายถึง สินค้าที่มีกฎหมายควบคุมการนำเข้า-ส่งออก โดยการนำเข้าหรือส่งออกได้ จะต้องรับอนุญาตหรือปฎิบัติให้ครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประเทศพม่าหรือเมียนมาร์กับประเทศไทยนั้น เป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อาณาเขตติดต่อกันมีเขตแดนติดกันยาว 2,040 กม. ซึ่งถ้าหากคำนึงถึงด้านโลจิสติกส์แล้วจะพบว่า การขนส่งที่น่าจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ การขนส่งทางบก เนื่องจากมีราคาประหยัดและรวดเร็วกว่าขนส่งทางเรือ ด่านชายแดนที่นิยมใช้กัน คือด่านแม่สอด จังหวัดตาก ที่อยู่ตรงข้ามอำเภอเมียวดีของพม่า หากนับจากด่านแม่สอด เส้นทางถนนไปสู่กรุงย่างกุ้ง ซึ่งถือว่าเป็นเมืองหลักของการกระจายสินค้าไทย จะมีความยาวประมาณ 420 กม. ซึ่งถือว่าเป็นเส้นทางที่ใกล้ที่สุดและสะดวกที่สุด
การขนส่งสินค้าโดยปกติ สินค้าไม่มีขนาดใหญ่และเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคทั่วไปแล้ว จะนิยมใช้เส้นทางขนส่งทางบก ที่มีเส้นทางเชื่อมเมืองสำคัญต่างๆ ไปยังฝั่งพม่า แต่หากเป็นสินค้าขนาดใหญ่ หรือต้องการกำหนดวันที่แน่นอนของสินค้าที่จะส่งไปยังปลายทาง จะขนส่งทางเรือ ซึ่งจะใช้เวลาเดินทางไปถึงกรุงย่างกุ้งประมาณ 14 วัน (ซึ่งยังไม่นับรวมวันเวลาที่ใช้เดินเอกสารเพื่อการออกของ) *เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการส่งออกสินค้าไปยังประเทศพม่า มีดังนี้
การใช้ระบบขนส่งทางบกผ่านด่านต่างๆ ที่ทั้งสองประเทศมีอยู่แล้ว จะใช้เวลาไม่เกิน 3 วัน ปัจจุบันด่านถาวรที่เชื่อมต่อระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า มีอยู่ 5 ด่าน ดังนี้
*ดูรายละเอียดเพิ่มเติม พิธีการขาออกศุลกากร |
Authorไม่มีการค้าใด ปราศจากการขนส่ง Archives
February 2022
Categories |
บริการของเรา |
วี-เฟรนด์ |
|